กรุณาเข้าสู่ระบบ

เพื่อใช้งานเต็มรูปแบบ

ยินดีต้อนรับสู่คลังสื่อ

ค้นหา แบ่งปัน และเรียนรู้ไปพร้อมกับสื่อการเรียนการสอนคุณภาพสูง

Info Image

ยินดีต้อนรับสู่คลังสื่อ!

ที่นี่คุณสามารถค้นหาสื่อการเรียนรู้ แบ่งปันสื่อของคุณ และมีส่วนร่วมกับชุมชนการเรียนรู้

LINE CHATBOT คลังสื่อ สพม.พิจิตร มีข้อสงสัย สอบถามที่นี่
แบบประเมิน
147
ผู้ใช้งาน
165
ผู้พัฒนาสื่อ
119
สื่อทั้งหมด

กลุ่มสาระการเรียนรู้

เลือกหมวดหมู่ที่คุณสนใจ

ภาษาไทย

คณิตศาสตร์

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

ภาษาต่างประเทศ

สุขศึกษา

ศิลปศึกษา

การงานอาชีพ

หลักสูตรท้องถิ่น

พลศึกษา

ดนตรี

นาฏศิลป์

เทคโนโลยี

ผลงานวิชาการ

อื่นๆ

ระบบ Pre-testing

เริ่มต้นใช้งาน

ลิงก์ด่วนสำหรับการใช้งาน


ลิงก์ที่เป็นประโยชน์
ติดต่อสอบถาม: LINE Chatbot
ค้นหาสื่อการเรียนรู้

สื่อยอดนิยม

สื่อที่ได้รับความนิยมสูงสุด

Post Image
2
Wordwall game เรื่อง Present Simple Tense รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

หลักการใช้ Present Simple Tense Present แปลว่า ปัจจุบัน ดังนั้น Present Simple Tense จึงเป็นประโยคที่มีโครงสร้างแบบง่าย ๆ เพื่อใช้พูดถึงเหตุการณ์ในปัจจุบัน โดยมีลักษณะต่าง ๆ ดังนี้ 1. ใช้เพื่อพูดถึงความเป็นจริงในชีวิตประจำวัน หรือความเป็นจริงตามธรรมชาติ ถึงแม้ว่าเหตุการณ์นั้นจะเป็นอดีตหรืออนาคตก็ตาม เช่น When the earth moves around itself, it makes Day and Night. (เมื่อโลกหมุนรอบตัวเอง มันทำให้เกิดกลางวันกลางคืน) 2. ใช้เพื่อพูดถึงเหตุการณ์ นิสัย หรือการกระทำที่เกิดขึ้นซ้ำ ๆ บ่อย ๆ เป็นประจำทุกวัน เช่น I walk to school every day. (ฉันเดินไปโรงเรียนทุกวัน) 3. ใช้เพื่อให้คำแนะนำหรือการบอกทิศทาง เช่น Turn off the television before going to bed. (ปิดโทรทัศน์ก่อนเข้านอน) รูปประโยคของ Present Simple Tense 1. ประโยคบอกเล่า โครงสร้างของประโยคบอกเล่า : Subject + Verb.1 + Object + (คำบอกเวลา) ทั้งนี้คำกริยาช่องที่ 1 นั้นจะมีการเติม s หรือ es ถ้าหากประธานของประโยคเป็นเอกพจน์ (He, She, It) แต่ถ้าประธานเป็น I, You หรือประธานพหูพจน์ (You (หลายคน), We, They) ให้คงรูปคำกริยานั้น ๆ ไว้เช่นเดิม เช่น I go to university by bus every morning. (ฉันไปมหาวิทยาลัยโดยรถโดยสารประจำทางทุกเช้า) 2. ประโยคคำถาม โครงสร้างของประโยคคำถามใน Present Simple Tense มีสองรูปแบบคือ แบบที่ 1 : Verb to be + Subject + Object/ส่วนขยาย + (คำบอกเวลา) ? ใช้เมื่อในประโยคนั้นมี V. to be (Is, Am, Are) ปรากฎอยู่ เช่น She is my sister. ---> Is she your sister ? (หล่อนเป็นน้องสาวคุณหรือเปล่า?) แบบที่ 2 : Verb to do + Subject + Verb.1 + Object + (คำบอกเวลา) ? ใช้เมื่อประโยคนั้นไม่มี V. to be จึงต้องนำ V. to do ได้แก่ do กับ does เข้ามาช่วย โดยขึ้นต้น ประโยคนำหน้าประธาน ซึ่งมีวิธีการใช้ที่แตกต่างกันคือ Do ใช้นำหน้า I, You และประธานที่เป็นพหูพจน์ (You, We, They) ส่วน Does ใช้นำหน้าประธานที่เป็น เอกพจน์ (He, She, It) และคำกริยาคงรูปช่องที่ 1 เหมือนเดิมโดยไม่ต้องเติม s, es เช่น They play football every evening. ---> Do they play football every evening? (พวกเขาเล่นฟุตบอลทุกเย็นหรือเปล่า?) 3. ประโยคปฏิเสธ รูปแบบประโยคปฏิเสธใน Present Simple Tense มีสองรูปแบบคล้ายกับรูปแบบประโยคคำถามคือ แบบที่ 1 : Subject + Verb to be + not + Object/ส่วนขยาย + (คำบอกเวลา) ใช้เมื่อในประโยคนั้นมี V. to be (Is, Am, Are) ปรากฎอยู่ เช่น I am your servant. ---> I am not your servant. (ฉันไม่ได้เป็นคนรับใช้ของคุณ) แบบที่ 2 : Subject + Verb to do + not + Verb.1 + Object + (คำบอกเวลา) แบบที่สองใช้เมื่อประโยคนั้นไม่มี V. to be จึงต้องนำ V. to do ได้แก่ do กับ does เข้ามาช่วย แล้วตามหลังด้วย not เพื่อบอกความปฏิเสธ ส่วนคำกริยาให้คงรูปช่องที่ 1 เหมือนเดิมโดยไม่ต้องเติม s,es เช่น He watches television at home. ---> He does not watch television at home. (เขาไม่ได้ดูโทรทัศน์อยู่ที่บ้าน) คำบ่งบอกเวลา Time expression ( every day / week / year ) / always / usually / often / sometime / never หลักการเติม s/es ที่คำกริยา ถ้าประธานเป็นเอกพจน์ Singular 1. คำกริยาปกติทั่วไป สามารถเติม s ได้เลย เช่น work → works / come → comes 2. คำกริยาที่ลงท้ายด้วย o, s, ch, x, z ให้เติม es เช่น do → does / go → goes / teach → teaches 3. คำกริยาที่ลงท้ายด้วย y จะมี 2 กรณี คือ 3.1 กรณีที่หน้า y เป็นพยัญชนะ ให้เปลี่ยน y เป็น i แล้วเติม es เช่น cry → cries / dry → dries 3.2 กรณีที่หน้า y เป็นสระ a, e, i, o, u ให้เติม s ได้เลย เช่น play → plays / buy → buys ข้อสังเกตุ ข้อแตกต่างระหว่างคำนามกับกริยา คือ คำนาม จะเติม s, es ก็ต่อเมื่อ คำนามนั้นเป็นพหูจน์ แต่สำหรับคำกริยา เราจะเติม s, es ก็ต่อเมื่อ ประธานของประโยคเป็นเอกพจน์ เช่น he, she, it

นางสาวจิราพร พวงไทย 2025-07-05
ภาษาต่างประเทศ มัธยมศึกษาปีที่ 2
ดูรายละเอียด
Post Image
2
เพลงล่องเเม่ปิง - สื่อประกอบการจัดการเรียนการสอน (SOLF POWER) : รายวิชาดนตรีเเละนาฏศิลป์ ม.2

การจัดการเรียนรู้เชิงรุกเพื่อพัฒนาทักษะการปฏิบัติดนตรีไทยแบบรวมวงของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้ Solf Power เป็นสื่อ มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วม และสามารถพัฒนาทักษะการเล่นดนตรีไทยร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ผ่านกระบวนการคิด วิเคราะห์ และลงมือปฏิบัติจริง โดยสื่อดิจิทัล Solf Power ถูกนำมาใช้เป็นเครื่องมือสนับสนุนการเรียนรู้ ช่วยให้นักเรียนเข้าใจโน้ตดนตรีและจังหวะได้ง่ายขึ้น ส่งเสริมให้สามารถฝึกซ้อมและเล่นดนตรีไทยร่วมกันในรูปแบบวงดนตรีได้อย่างถูกต้องและไพเราะ นอกจากนี้ยังเป็นการพัฒนาทักษะทางสังคม เช่น ความสามัคคี ความรับผิดชอบ และความกล้าแสดงออก โดยกิจกรรมการเรียนรู้จะสอดคล้องกับบริบทของผู้เรียนและสร้างแรงจูงใจให้เกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

ว่าที่ร้อยตรีเตชภณ สะสมทรัพย์ 2025-07-05
ดนตรี มัธยมศึกษาปีที่ 2
ดูรายละเอียด
Post Image
1
ตัวต้านทาน

ตัวต้านทานและการอ่านค่าความต้านทานจากแถบสีบนตัวต้านทาน

นางสาวพิมพ์นารา แสนวงศ์ 2025-07-07
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มัธยมศึกษาตอนปลาย
ดูรายละเอียด

สื่อล่าสุด

สื่อการเรียนการสอนที่เพิ่งอัปโหลด

Post Image
ตัวต้านทาน

ตัวต้านทานและการอ่านค่าความต้านทานจากแถบสีบนตัวต้านทาน

พิบูลธรรมเวทวิทยา
2025-07-07
Post Image
Wordwall game เรื่อง Present Simple Tense รายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

หลักการใช้ Present Simple Tense Present แปลว่า ปัจจุบัน ดังนั้น Present Simple Tense จึงเป็นประโยคที่มีโครงสร้างแบบง่าย ๆ เพื่อใช้พูดถึงเหตุการณ์ในปัจจุบัน โดยมีลักษณะต่าง ๆ ดังนี้ 1. ใช้เพื่อพูดถึงความเป็นจริงในชีวิตประจำวัน หรือความเป็นจริงตามธรรมชาติ ถึงแม้ว่าเหตุการณ์นั้นจะเป็นอดีตหรืออนาคตก็ตาม เช่น When the earth moves around itself, it makes Day and Night. (เมื่อโลกหมุนรอบตัวเอง มันทำให้เกิดกลางวันกลางคืน) 2. ใช้เพื่อพูดถึงเหตุการณ์ นิสัย หรือการกระทำที่เกิดขึ้นซ้ำ ๆ บ่อย ๆ เป็นประจำทุกวัน เช่น I walk to school every day. (ฉันเดินไปโรงเรียนทุกวัน) 3. ใช้เพื่อให้คำแนะนำหรือการบอกทิศทาง เช่น Turn off the television before going to bed. (ปิดโทรทัศน์ก่อนเข้านอน) รูปประโยคของ Present Simple Tense 1. ประโยคบอกเล่า โครงสร้างของประโยคบอกเล่า : Subject + Verb.1 + Object + (คำบอกเวลา) ทั้งนี้คำกริยาช่องที่ 1 นั้นจะมีการเติม s หรือ es ถ้าหากประธานของประโยคเป็นเอกพจน์ (He, She, It) แต่ถ้าประธานเป็น I, You หรือประธานพหูพจน์ (You (หลายคน), We, They) ให้คงรูปคำกริยานั้น ๆ ไว้เช่นเดิม เช่น I go to university by bus every morning. (ฉันไปมหาวิทยาลัยโดยรถโดยสารประจำทางทุกเช้า) 2. ประโยคคำถาม โครงสร้างของประโยคคำถามใน Present Simple Tense มีสองรูปแบบคือ แบบที่ 1 : Verb to be + Subject + Object/ส่วนขยาย + (คำบอกเวลา) ? ใช้เมื่อในประโยคนั้นมี V. to be (Is, Am, Are) ปรากฎอยู่ เช่น She is my sister. ---> Is she your sister ? (หล่อนเป็นน้องสาวคุณหรือเปล่า?) แบบที่ 2 : Verb to do + Subject + Verb.1 + Object + (คำบอกเวลา) ? ใช้เมื่อประโยคนั้นไม่มี V. to be จึงต้องนำ V. to do ได้แก่ do กับ does เข้ามาช่วย โดยขึ้นต้น ประโยคนำหน้าประธาน ซึ่งมีวิธีการใช้ที่แตกต่างกันคือ Do ใช้นำหน้า I, You และประธานที่เป็นพหูพจน์ (You, We, They) ส่วน Does ใช้นำหน้าประธานที่เป็น เอกพจน์ (He, She, It) และคำกริยาคงรูปช่องที่ 1 เหมือนเดิมโดยไม่ต้องเติม s, es เช่น They play football every evening. ---> Do they play football every evening? (พวกเขาเล่นฟุตบอลทุกเย็นหรือเปล่า?) 3. ประโยคปฏิเสธ รูปแบบประโยคปฏิเสธใน Present Simple Tense มีสองรูปแบบคล้ายกับรูปแบบประโยคคำถามคือ แบบที่ 1 : Subject + Verb to be + not + Object/ส่วนขยาย + (คำบอกเวลา) ใช้เมื่อในประโยคนั้นมี V. to be (Is, Am, Are) ปรากฎอยู่ เช่น I am your servant. ---> I am not your servant. (ฉันไม่ได้เป็นคนรับใช้ของคุณ) แบบที่ 2 : Subject + Verb to do + not + Verb.1 + Object + (คำบอกเวลา) แบบที่สองใช้เมื่อประโยคนั้นไม่มี V. to be จึงต้องนำ V. to do ได้แก่ do กับ does เข้ามาช่วย แล้วตามหลังด้วย not เพื่อบอกความปฏิเสธ ส่วนคำกริยาให้คงรูปช่องที่ 1 เหมือนเดิมโดยไม่ต้องเติม s,es เช่น He watches television at home. ---> He does not watch television at home. (เขาไม่ได้ดูโทรทัศน์อยู่ที่บ้าน) คำบ่งบอกเวลา Time expression ( every day / week / year ) / always / usually / often / sometime / never หลักการเติม s/es ที่คำกริยา ถ้าประธานเป็นเอกพจน์ Singular 1. คำกริยาปกติทั่วไป สามารถเติม s ได้เลย เช่น work → works / come → comes 2. คำกริยาที่ลงท้ายด้วย o, s, ch, x, z ให้เติม es เช่น do → does / go → goes / teach → teaches 3. คำกริยาที่ลงท้ายด้วย y จะมี 2 กรณี คือ 3.1 กรณีที่หน้า y เป็นพยัญชนะ ให้เปลี่ยน y เป็น i แล้วเติม es เช่น cry → cries / dry → dries 3.2 กรณีที่หน้า y เป็นสระ a, e, i, o, u ให้เติม s ได้เลย เช่น play → plays / buy → buys ข้อสังเกตุ ข้อแตกต่างระหว่างคำนามกับกริยา คือ คำนาม จะเติม s, es ก็ต่อเมื่อ คำนามนั้นเป็นพหูจน์ แต่สำหรับคำกริยา เราจะเติม s, es ก็ต่อเมื่อ ประธานของประโยคเป็นเอกพจน์ เช่น he, she, it

ดงเจริญพิทยาคม
2025-07-05
Post Image
เพลงล่องเเม่ปิง - สื่อประกอบการจัดการเรียนการสอน (SOLF POWER) : รายวิชาดนตรีเเละนาฏศิลป์ ม.2

การจัดการเรียนรู้เชิงรุกเพื่อพัฒนาทักษะการปฏิบัติดนตรีไทยแบบรวมวงของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้ Solf Power เป็นสื่อ มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วม และสามารถพัฒนาทักษะการเล่นดนตรีไทยร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ผ่านกระบวนการคิด วิเคราะห์ และลงมือปฏิบัติจริง โดยสื่อดิจิทัล Solf Power ถูกนำมาใช้เป็นเครื่องมือสนับสนุนการเรียนรู้ ช่วยให้นักเรียนเข้าใจโน้ตดนตรีและจังหวะได้ง่ายขึ้น ส่งเสริมให้สามารถฝึกซ้อมและเล่นดนตรีไทยร่วมกันในรูปแบบวงดนตรีได้อย่างถูกต้องและไพเราะ นอกจากนี้ยังเป็นการพัฒนาทักษะทางสังคม เช่น ความสามัคคี ความรับผิดชอบ และความกล้าแสดงออก โดยกิจกรรมการเรียนรู้จะสอดคล้องกับบริบทของผู้เรียนและสร้างแรงจูงใจให้เกิดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

ดงเจริญพิทยาคม
2025-07-05

กราฟแสดงจำนวนผู้ใช้งานและผู้พัฒนาสื่อแยกตามสถานศึกษา

พร้อมที่จะเริ่มต้นแล้วหรือยัง?

เข้าร่วมชุมชนครูและนักเรียน แบ่งปันความรู้ และเรียนรู้ไปด้วยกัน